Boss

Elon Musk

HR มองข้ามแต่ Elon Musk มองเห็นในตัวแคนดิเดต !

“Tell me about some of the most difficult problems you worked on and exactly how you solved them.”

นี่คือประโยคที่แคนดิเดตทุกคนต้องตอบเมื่อสัมภาษณ์กับเขา

ดูเผินๆ นี้มีอะไรพิเศษแตกต่าง? เรามาแกะดูไปทีคำกัน

Charismatic Leaders

Charismatic Leaders บริหารคนด้วย “เสน่ห์”

ขอให้รู้ว่าเสน่ห์เป็นสิ่งที่ ‘สร้าง’ กันได้ และอันที่จริง Charismatic Leaders ก็ฝึกฝน ทักษะเหล่านี้อยู่เบื้องหลังตลอดเวลา

อยากรู้บริษัทที่มีคนยื่นสมัครงานมากกว่า 1.3 ล้านคน ทำอะไร? – L’Oreal

ความสำเร็จทั้งหมดนี้ เบื้องหลังล้วนขับเคลื่อนด้วย “คน” …คำถามน่าสนใจต่อไปคือ แล้ว L’Oreal มีวิธีดึงดูดคนเก่งให้มาร่วมงานอย่างไร?

ลาออกเพราะ Toxic Boss เรื่องจริงที่ผู้บริหารรู้แต่ไม่แก้

คนทำงานมาซักพัก น่าจะพอทราบดีว่า เหตุผลที่แท้จริงของการลาออก ถ้าไม่ใช่เรื่องงาน…ก็คือเรื่อง คน! ซึ่งส่วนใหญ่อาจเทน้ำหนักไปสาเหตุหลังด้วยซ้ำ และบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในออฟฟิศบริษัทก็คือ “หัวหน้างาน” ของแต่ละทีมกันเอง

หัวหน้าที่นั่งเฉย

Armchair Boss หัวหน้าที่นั่งเฉย ๆ ไปวัน ๆ แต่ติเก่ง จนอยากลาออก

ออฟฟิศคุณเป็นอีกที่รึเปล่า? ที่ลูกทีมพากันลาออก เพราะดันเจอคน Toxic คนเดียว หรือหัวหน้าเจ้าบงการ ชอบเสนอไอเดียบรรเจิดแก่ผู้บริหารให้ซื้อไอเดียนั้น ก่อนโยนให้ลูกน้องในทีมทำ ชอบสั่งงานมหึมาที่ไม่รู้จะทำให้เกิดขึ้นจริงได้ยังไง แถมตำหนิลูกน้องทุกจุดเมื่อเกิดความผิดพลาด แต่ไม่ช่วยหาโซลูชั่น

รวิศ หาญอุตสาหะ จากมนุษย์เงินเดือน สู่ไอดอลของนักธุรกิจ

หลายคนรู้จัก คุณรวิศ หาญอุตสาหะในฐานะ “เจ้าพ่อคอนเทนต์” ที่เราสามารถรับฟัง-อ่าน-เสพได้ทุกวัน

แต่ตัวเค้าเองยังเป็นผู้บริหารแบรนด์ศรีจันทร์ที่สร้างปรากฎการณ์รีแบรนด์จนสำเร็จและพาแบรนด์โกอินเตอร์จนเป็นกรณีศึกษา ทั้งๆ ที่ไม่มีแบคกราวด์ด้านการตลาด และไม่เคยบริหารองค์กรเลยเพราะก่อนหน้านั้นก็เป็นพนักงานออฟฟิศมนุษย์เงินเดือน

จากมนุษย์เงินเดือน…สู่นักธุรกิจที่สำเร็จ
จากนักธุรกิจ…สู่นักบริหารชีวิตที่เป็นไอดอลของใครหลายคน

เคสของคุณรวิศ หาญอุตสาหะ จึงน่าสนใจไม่น้อย…

กลยุทธ์ที่หัวหน้ามองข้าม แต่อาจทำให้คนทำงานแฮปปี้ขึ้น

ปกติเวลาเราพูดว่า ต้องการทำให้องค์กร productive / creative / scalable ขึ้น กลยุทธ์มักโฟกัสไปที่การ “เพิ่ม” เข้าไปให้มากขึ้น ใหญ่ขึ้น ถี่ขึ้น เข้มข้นขึ้น โดยลืมไปว่า บางเรื่องอาจจะ Less is more ทำน้อยแต่ได้มาก…น้อยๆ แต่เน้นๆ อาจจะดีกว่า

Servant Leadership

Servant Leadership ผู้นำที่สร้างผู้นำคนอื่นให้ฉายแสง

ปกติแล้ว เรามักเคยชินกับนิยามของ “ผู้นำ” ที่ดีว่าต้องสามารถสร้าง “ผู้ตาม” ได้เยอะ ผู้นำต้องเป็นคนมีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล มีทักษะบริหารดีเยี่ยม และต้องมีเสน่ห์บางอย่างที่ชวนให้ผู้คนได้เดินตามรอย

แต่ในศาสตร์ภาวะความเป็นผู้นำ ยังมีหลาย Leadership Style เอามากๆ ทั้งผู้นำแบบเผด็จกาจที่ชี้นิ้วสั่งให้เดินตามทุกกระเบียดนิ้ว หรือผู้นำที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนตกผลึกทางความคิดด้วยตัวเอง

แต่ทั้งหมดนี้ มีอยู่สไตล์หนึ่งที่เรียกว่า Servant Leadership “ผู้นำที่รับใช้คนอื่น” ซึ่งถูกยกขึ้นหิ้งให้เป็นภาวะผู้นำบนยอดสุดของพีรามิด ที่แม้แต่คนระดับหัวหน้าผู้นำด้วยกันเองยังให้การยอมรับนับถือ!

อยากเป็นหัวหน้าที่ดีขึ้น ลองทำตาม Brand Archetype ของแต่ละคน

ไม่มีหัวหน้างานคนไหนไม่รู้จักวลีคลาสสิคอย่าง “Put the right man on the right job.” เพราะงานของพวกเราอาจไม่ได้เน้นหนักที่ตัวเนื้องานอีกแล้ว แต่เป็นการบริหารคน ชี้แนะคน เข้าใจคน เพื่อที่จะมอบหมายงานได้ตรงความสามารถ

แต่การ “เข้าใจคน” เป็นเรื่องที่พูดง่ายแต่ทำยาก มีความเป็นนามธรรม และยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละคนได้

จึงมีความพยายามประยุกต์ใช้สิ่งที่เรียกว่า “Brand Archetype” มาช่วยจัดระเบียบความคิด จัดกลุ่มประเภทคนที่มีอุปนิสัยคล้ายกัน เมื่อเราเข้าใจคาแรคเตอร์ลูกทีมมากขึ้น จึงคาดหวัง ดีลงาน มอบหมายงานได้ตรงจุดกว่าเดิม