boss

หัวหน้าที่ดี

วิธีง่าย ๆ สู่การเป็น “หัวหน้าที่ดี” ที่ใคร ๆ ก็รัก

ไม่กลัวลูกน้องเก่งเกินหน้าเกินตา, ฟัง มากกว่า พูด, ชมเชยเมื่อทำดี และ ตำหนิแบบมีชั้นเชิง, ให้เครดิตกับทีม ไม่ใช่กับตัวเอง

นี่คือคุณสมบัติของ “หัวหน้าอันเป็นที่รักของลูกน้อง” ในฐานะหัวหน้างาน…เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อเป็นหัวหน้าที่ดีขึ้นและลูกน้องรักมากขึ้น?

หัวหน้า

หัวหน้า 6 ประเภทที่ลูกน้องเข้าขั้นเกลียด

ณ จุดหนึ่งของชีวิตการทำงาน เราล้วนต้องเจอกับหัวหน้าที่มีข้อบกพร่อง และเรามักบอกตัวเองว่า อนาคตเราจะไม่มีวันเป็นหัวหน้าแบบนั้นแน่นอน อย่างไรก็ตาม หัวหน้าที่แย่กลับถูกพบเจอได้เกลื่อนกลาดในที่ทำงาน 

อยากรู้บริษัทที่มีคนยื่นสมัครงานมากกว่า 1.3 ล้านคน ทำอะไร? – L’Oreal

ความสำเร็จทั้งหมดนี้ เบื้องหลังล้วนขับเคลื่อนด้วย “คน” …คำถามน่าสนใจต่อไปคือ แล้ว L’Oreal มีวิธีดึงดูดคนเก่งให้มาร่วมงานอย่างไร?

ลาออกเพราะ Toxic Boss เรื่องจริงที่ผู้บริหารรู้แต่ไม่แก้

คนทำงานมาซักพัก น่าจะพอทราบดีว่า เหตุผลที่แท้จริงของการลาออก ถ้าไม่ใช่เรื่องงาน…ก็คือเรื่อง คน! ซึ่งส่วนใหญ่อาจเทน้ำหนักไปสาเหตุหลังด้วยซ้ำ และบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในออฟฟิศบริษัทก็คือ “หัวหน้างาน” ของแต่ละทีมกันเอง

หัวหน้าที่นั่งเฉย

Armchair Boss หัวหน้าที่นั่งเฉย ๆ ไปวัน ๆ แต่ติเก่ง จนอยากลาออก

ออฟฟิศคุณเป็นอีกที่รึเปล่า? ที่ลูกทีมพากันลาออก เพราะดันเจอคน Toxic คนเดียว หรือหัวหน้าเจ้าบงการ ชอบเสนอไอเดียบรรเจิดแก่ผู้บริหารให้ซื้อไอเดียนั้น ก่อนโยนให้ลูกน้องในทีมทำ ชอบสั่งงานมหึมาที่ไม่รู้จะทำให้เกิดขึ้นจริงได้ยังไง แถมตำหนิลูกน้องทุกจุดเมื่อเกิดความผิดพลาด แต่ไม่ช่วยหาโซลูชั่น

จากการเมืองสู่การงาน ถอดบทเรียนภาวะผู้นำในสไตล์ “ทิม พิธา”

นาทีนี้ไม่มีใครเฉิดฉายเท่าผู้ชายที่ชื่อ “ทิม พิธา” อีกแล้ว แม้ว่าเขาจะมาจากบริบทการเมือง แต่ถ้าดูให้ดีๆ เราสามารถถอดบทเรียนของเขาในฐานะผู้นำมา apply ใช้กับความเป็นหัวหน้าในการทำงานของพวกเราได้เพียบเลย